รัฐศาสตรดุษฏีบัณฑิต (D.Pol.Sc.)

ภาษาไทย : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย : รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต

ชื่อย่อภาษาไท) : ร.ด.

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Political Science

ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : D.Pol.Sc.

หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตเน้นการศึกษาเชิงวิพากษ์ที่มุ่งเน้นการวิจัยแบบเชิงลึกที่มุ่งสร้างองค์ความรู้และคำอธิบายทางรัฐศาสตร์ในมิติต่างๆ ที่มีความใหม่ โดยเน้นความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างมิติด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมอย่างเป็นองค์รวม สร้างและพัฒนาเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ ด้วยความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์ อีกทั้งยังมุ่งสร้างงานวิจัยเชิงนโยบายาที่เป็นประโยชน์กับสังคมและวงวิชาการทั้งไทยและสากลอย่างมืออาชีพ

หลักสูตรรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2566) มุ่งสร้างบัณฑิตที่มีลักษณะอันพึงประสงค์ตามผลลัพธ์กการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes, PLOs) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ใช้บัณฑิต ดังนี้

1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญการวิจัยและวิชาการขั้นสูงทางด้านรัฐศาสตร์ พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือสร้างนวัตกรรมทางความรู้ได้

2 เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีทักษะการปรับตัวเข้ากับสังคมที่มีความหลากหลาย รับฟังความเห็นที่แตกต่างและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจและการสื่อสารทางด้านรัฐศาสตร์

3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่ยึดหลักการของความถูกต้องชอบธรรม มีจรรยาวิชาชีพ และความพร้อมที่จะรับผิดชอบ ในฐานะผู้นำ ทั้งทางด้านวิจัย วิชาการ วิชาชีพ และการบริหารจัดการสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมด้วยหลักสิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค และความสมานฉันท์

4 เพื่อผลิตผู้นำทางความคิด มีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน การสื่อสารเพื่อการสร้างและพัฒนาเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์ รู้วิธีที่จะจัดการและรับมือกับผู้เห็นต่างอย่างมืออาชีพ

PLO1
บัณฑิตสามารถ เข้าใจ อธิบาย และมีความเชี่ยวชาญการวิจัยและวิชาการขั้นสูงทางด้านรัฐศาสตร์ พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือสร้างนวัตกรรมทางความรู้ได้
PLO2
บัณฑิตสามารถวิเคราะห์ และใช้เหตุผลในการโต้แย้งความเห็นต่างได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจและการสื่อสารทางด้านรัฐศาสตร์
PLO3

บัณฑิตสามารถให้ข้อคิดเห็นด้านรัฐศาสตร์โดยยึดหลักการของความถูกต้องชอบธรรม มีจรรยาวิชาชีพ และความพร้อมที่จะรับผิดชอบทั้งทางด้านวิจัย วิชาการ วิชาชีพ และการบริหารจัดการสาธารณะ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมด้วยหลักสิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค และความสมานฉันท์

PLO4
บัณฑิตสามารถกำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน มีการสื่อสารเพื่อการสร้างและพัฒนาเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน ด้วยความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์ รู้วิธีที่จะจัดการและรับมือกับผู้เห็นต่างอย่างมืออาชีพ

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

แบบ 1.1 ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี ไม่เกิน 6 ปี การศึกษา

แบบ 1.2 ไม่น้อยกวา 72 หน่วยกิต ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี ไม่เกิน 8 ปี การศึกษา

แบบ 2.1 ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี ไม่เกิน 6 ปี การศึกษา

แบบ 2.2 ไม่น้อยกว่า 78 หน่วยกิต ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี ไม่เกิน 8 ปี การศึกษา

โครงสร้างหลักสูตร

รายละเอียด

จำนวนหน่วยกิต

แบบ 1.1*

แบบ 1.2**

แบบ 2.1*

แบบ 2.2**

1. เรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน

N/C

N/C

N/C

N/C

2. เรียนรายวิชาปรับพื้นฐาน

N/C

N/C

N/C

N/C

3. จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน

-

-

24

30

- หมวดวิชาบังคับ

-

-

18

18

- หมวดวิชาเลือก

-

-

6

12

4. จำนวนหน่วยกิตดุษฎีนิพนธ์

48

72

36

48

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสุตร

48

72

60

78

หมายเหตุ

1) สัญลักษณ์ * หมายถึง หลักสูตรสำหรับผู้เข้ารับการศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท

2) สัญลักษณ์ ** หมายถึง หลักสูตรสำหรับผู้เข้ารับการศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี

3) นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ในทุกภาคการศึกษา ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรก จนกว่าจะสำเร็จการศึกษา โดยไม่นับหน่วยกิต และประเมินผลเป็น S/U

.หมวดวิชาปรับพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต)

รหัสวิชา

รายวิชา

ชั่วโมง

DPS-001

ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสำหรับการเรียนระดับสูง

(Advances English Skills for Communication)

25 ชั่วโมง

DPS-002

ขอบข่ายและระเบียบวิธีวิจัย** (Scope and Research Methodology)

25 ชั่วโมง

DPS-003

ปรัชญาและทฤษฎีทางรัฐศาสตร์** (Philosophy and Political Science Theory)

25 ชั่วโมง

หมายเหตุ ** รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขาวิชาอื่นหรือสาขาที่สัมพันธ์กับสาขาวิชารัฐศาสตร์

.หมวดวิชาบังคับ

รหัสวิชา

รายวิชา

ชั่วโมง

DPS-101

การวิจัยขั้นสูงทางรัฐศาสตร์ (Advanced Research in Political Sciences)

3 (30–6)

DPS-102

การวิเคราะห์กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครองเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ

(A Comparative Analysis of Constitutions and Administrative Laws Among Nations)

3 (30–6)

DPS-103

สัมมนาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ (Comparative Politics and Government)

3 (30–6)

DPS-104

จริยธรรมและคุณธรรมขั้นสูงสำหรับนักการเมือง (Ethics and Morality for Politicians)

3 (30–6)

DPS-105

การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง (Advances Managing Technology and Innovation)

3 (30–6)

DPS-106

สัมมนาการเมืองการปกครองไทย (Seminar in Thai Government and Politics)

3 (30–6)

.หมวดวิชาเลือก

แบบ 2.1 6 หน่วยกิต

แบบ 2.2 12 หน่วยกิต

รหัสวิชา

รายวิชา


DPS-201

การวิเคราะห์บทบาทและอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาที่มีต่อเวทีโลก

(The Role and Influence Analysis of the US in World Politics)

3 (30–6)

DPS-202

การวิเคราะห์บทบาทและอิทธิพลของจีนที่มีต่อเวทีโลก

(The Role and Influence Analysis of the People’s Republic of China

in World Politics)

3 (30–6)

DPS-203

การเมืองยุโรปเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ

(A Comparative Study of European Politics)

3 (30–6)

DPS-204

การเมืองในทวีปเอเซียเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ (A Comparative Study of Asian Politics)

3 (30–6)

DPS-205

การเมืองในประเทศกำลังพัฒนาเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศ

(A Comparative Study of Developing Country Politics)

3 (30–6)

DPS-206

การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนในการบริหารงานองค์กรอิสระของไทย (The SWOT Analysis of Thai Independent Organization Administration)

3 (30–6)

DPS-207

รูปแบบและพฤติกรรมการคอรัปชั่นในประเทศไทย

(Model and Corruption Behavior in Thailand)

3 (30–6)

DPS-208

บทบาทขององค์กรภาคประชาชนที่มีต่อการพัฒนาประเทศ

(Role of People Organization for National Development)

3 (30–6)

DPS-209

ผลกระทบจากสงครามที่มีอิทธิพลต่อการเมืองในประเทศต่างๆ ของโลก

(Aftermath of the War on Politics Across Countries in the World)

3 (30–6)

DPS-210

ทิศทางและแนวโน้มของพัฒนาการด้านการเมืองในเวทีโลก

(Directions and Political Development Trend in World Politics)

3 (30–6)

DPS-211

การออกแบบระบบการบริหารการคลังเพื่อการบริหารท้องถิ่น

(Fiscal Administration System Designed for Local Administration)

3 (30–6)

DPS-212

การวิเคราะห์การเมืองนานาชาติที่มีอิทธิพลต่อการเมืองไทย

(Analysis of International Politics and its Impact on Thai Politics)

3 (30–6)

DPS-213

บทบาทของไทยในเวทีอาเซียน (The Role of Thai Politics in ASEAN Arena)

3 (3–0–6)

.ดุษฎีนิพนธ์

รหัสวิชา

รายวิชา


DPS-901

วิทยานิพนธ์ (Dissertation)

36(0-144-0)

DPS-902

วิทยานิพนธ์ (Dissertation)

48(0-192-0)

DPS-903

วิทยานิพนธ์ (Dissertation)

72(0-288-0)

.DPS-301 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต

(Doctoral Dissertation Seminar)

นักศึกษาทุกคนต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา DPS-904 สัมมนาวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต ในทุกภาคการศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาแรก จนกว่าจะสำเร็จการศึกษาโดยไม่นับหน่วยกิต และประเมินผลเป็น S/U

.DPS-401 การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

1 ผู้บริหารระดับกลางทั้งภาครัฐและเอกชน

2 ผู้บริหารระดับสูง ทั้งภาครัฐและเอกชน

3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองและการปกครอง

4 นักการเมืองระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ

5 อาจารย์สอนด้านการเมืองการปกครองระดับอุดมศึกษา

6 ประกอบอาชีพอิสระ/ อาชีพส่วนตัว

7 นักวิชาการและวิจัย



เวลาทำการ

วันจันทร์ - วันศุกร์: 08:30น. - 17:00น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ : 08:30น. - 17:00น.

ที่อยู่ติดต่อ

749, 1 ถ. ชยางกูร ตำบล ในเมือง อำเภอ เมืองอุบลราชธานี
อุบลราชธานี 34000

โทรศัพท์

045 283 772