ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : นิติศาสตรบัณฑิต
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Law
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย :
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
ชื่อย่อภาษาไทย :
น.บ.
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Law
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : LL.B.
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมุ่งมั่นผลิตบัณฑิตคุณภาพ
มีศักยภาพทางวิชาการและวิชาชีพควบคู่
คุณธรรมจริยธรรม เน้นความรู้
สมรรถนะและทักษะด้านวิชาการและวิชาชีพ มีความคิดสรรค์ มีทักษะดิจิทัล
เป็นผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต และรักษาความยุติธรรม นำองค์ความรู้ทางกฎหมายไปใช้เพื่อผดุงความยุติธรรมและพัฒนาสังคม
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ.2566)
มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้คุณภาพ การเรียนการสอน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดแรงงาน ดังนี้
1
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้บรรดากฎหมายพื้นฐานที่จำเป็น
สามารถใช้หลักกฎหมายที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
มีความสำคัญสำหรับการนำไปปรับใช้กฎหมายอื่น ๆ มีความรอบรู้ทั้งวิชาการ
วิชาชีพพร้อมทำงาน และเพื่อศึกษาต่อในระดับที่สูงไป หรือค้นคว้าวิจัย
หรือในการประกอบวิชาชีพ
2
ผลิตบัณฑิตให้มีทักษะสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพหรือเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม
ท้องถิ่น และประเทศชาติ
3 ผลิตบัณฑิตให้มีทักษะ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ คิดอย่างมีวิจารณาญาณ มีความเป็นผู้นำ
และเป็นผู้ประกอบการในการแก้ปัญหาทางวิชาชีพตนและวิชาชีพอื่นและสามารถหาข้อยุติหรือเสนอทางเลือกโดยคำนึงถึงหลักยุติธรรมและหลักนิติธรรม
4
เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตสาธารณะ
ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างเป็นธรรม ยึดมั่นหลักนิติธรรม จริยธรรมนักกฎหมาย
รับผิดชอบต่อประชาชน ชุมชน สังคม ประเทศชาติ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes : PLOs)
PLO1 | อธิบายหลักการ แนวคิด
หลักกฎหมาย ของกฎหมายพื้นฐานได้ |
PLO2 | อธิบาย แนวคิด หลักกฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ กฎหมายวิธีสบัญญัติได้ |
PLO3 | ประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านกฎหมายในการประกอบวิชาชีพได้ |
PLO4 | บูรณาการสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อแก้ไขปัญหาด้านกฎหมายที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นและสังคมได้ |
PLO5 | วิพากษ์ วิจารณ์
โต้แย้ง และรับฟังความคิดเห็นจากบุคคลอื่นเกี่ยวกับแนวคิด
หลักกฎหมายบทบัญญัติในกฎหมายได้ |
PLO6 | มีทักษะการคิดเชิงวิพากษ์
คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีเหตุผล มีความเป็นผู้นำ
และเป็นผู้ประกอบการในการแก้ปัญหาทางวิชาชีพตนและวิชาชีพอื่นได้ |
PLO7 | มีความซื่อสัตย์ สุจริต
มีจิตใจเมตตา มีความโอบอ้อมอารี มีจิตสาธารณะต่อวิชาชีพตนเองและวิชาชีพอื่นตามหลักจรรยาบรรณของนักกฎหมาย |
PLO8 | วิเคราะห์
รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เปิดโอกาสให้ผู้อื่นได้มีส่วนร่วม จำแนกแยกแยะ
ปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างเป็นธรรม
และสามารถปรับตัวเข้ากับวิชาชีพตนและวิชาชีพอื่นได้ตามหลักนิติธรรม |
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
(ไม่น้อยกว่า
120 หน่วยกิต) 120 หน่วยกิต
1)
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต) 24 หน่วยกิต
2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน (ไม่น้อยกว่า
72 หน่วยกิต)
90 หน่วยกิต
2.1) กลุ่มวิชาทฤษฎี (ไม่น้อยกว่า
24 หน่วยกิต) 42 หน่วยกิต
2.2)
กลุ่มวิชาปฏิบัติการ (ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต) 36
หน่วยกิต
2.3) กลุ่มวิชาเลือก (ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) 12
หน่วยกิต
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
รหัสวิชา |
กลุ่มวิชาเพื่อการสื่อสาร |
8 หน่วยกิต |
GEN-101 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for Communication |
2(1-2-3) |
GEN-102 |
ภาษาไทยกับการรู้เท่าทันอย่างสร้างสรรค์
Thai language and Creative
literacy |
2(1-2-3) |
GEN-103 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร English for Communication |
2(1-2-3) |
GEN-104 |
ภาษาอังกฤษกับเพื่อนวัตกรรมสังคม English for Social Innovation |
2(1-2-3) |
รหัสวิชา |
กลุ่มวิชาส่งเสริมทักษะชีวิต |
8 หน่วยกิต |
GEN-201 |
คุณค่าของความสุข Values of Happiness |
2(1-2-3) |
GEN-202
|
มนุษย์กับศาสตร์การใช้ชีวิต Human and Science living |
2(1-2-3) |
GEN-203 |
ความรู้การเงินส่วนบุคคลยุคดิจิทัล Personal Finance literacy in Digital Age |
2(1-2-3) |
GEN-204 |
การคิดเพื่อการพัฒนาธุรกิจ
Critical Thinking for Business
Development |
2(1-2-3) |
รหัสวิชา |
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี นวัตกรรม |
5 หน่วยกิต |
GEN-301 |
การใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล Living in the Digital Age |
2(1-2-3) |
GEN-302 |
เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อชุมชน Technology and Innovation for Community |
3(2-4-3) |
รหัสวิชา |
กลุ่มวิชาสหศาสตร์ |
3 หน่วยกิต |
GEN-401 |
UMT เพื่อชุมชน The Eastern University
of Management and Technology for Community |
3(0-6-3) |
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน
2.1 |
กลุ่มวิชาทฤษฎี
(บังคับ) (ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต) |
42 หน่วยกิต |
LWC-101 |
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
(Introduction
to Law) |
2(1-2-3) |
LWC-102 |
กฎหมายมหาชนเบื้องต้น (Introduction of Public Law) |
2(1-2-3) |
LWC-103 |
ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย (Legal History) |
2(1-2-3) |
LWC-104 |
กฎหมายแพ่ง 1 (กฎหมายบุคคลและนิติกรรมและสัญญา Civil Law 1) |
2(1-2-3) |
LWC-105 |
กฎหมายแพ่ง 2 (กฎหมายลักษณะหนี้และละเมิด Civil Law 2) |
2(1-2-3) |
LWC-106 |
กฎหมายทรัพย์สิน (Property Law) |
2(1-2-3) |
LWC-107 |
กฎหมายรัฐธรรมนูญ (Constitutional Law) |
2(1-2-3) |
LWC-108 |
กฎหมายอาญาภาคทั่วไป (Criminal Law :General Principles) |
3(2-2-5) |
LWC-109 |
กฎหมายอาญาภาคความผิด (Criminal Law : Specific Offenses) |
3(2-2-5) |
LWC-110 |
กฎหมายธุรกิจ 1(Business Law 1) |
2(2-1-3) |
LWC-111 |
กฎหมายธุรกิจ 2 (Business Law 2) |
2(2-1-3) |
LWC-112 |
กฎหมายธุรกิจ 3 (Business Law 3) |
2(2-1-3) |
LWC-113 |
กฎหมายลักษณะตั๋วเงินและบัญชีเดินสะพัด
(Bills and Current
Account Law) |
2(2-1-3) |
LWC-114 |
กฎหมายครอบครัว (Family Law) |
2(2-1-3) |
LWC-115 |
กฎหมายมรดก (Succession Law) |
2(2-1-3) |
LWC-120 |
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม (Constitution of Courts of Justice) |
2(2-1-3) |
LWC-122 |
กฎหมายดิจิทัลเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
(Digit Law For
Socio-economic Development) |
2(2-1-3) |
LWC-126 |
จรรยาบรรณและหลักวิชาชีพนักกฎหมาย
(Ethics and Legal
Professional) |
2(2-1-3) |
LWC-127 |
ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย (English For Lawyers) |
2(2-1-3) |
2.2 |
กลุ่มวิชาปฏิบัติการ
(บังคับ) (ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต) |
36 หน่วยกิต |
LWC-116 |
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (Civil Procedure Law) |
3(2-2-5) |
LWC-117 |
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (Criminal Procedure Law) |
3(2-2-5) |
LWC-118 |
กฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(Administrative Procedure
Law) |
3(2-2-5) |
LWC-119 |
กฎหมายลักษณะพยาน (Law of Evidence) |
2(2-1-3) |
LWC-123 |
การใช้และตีความกฎหมาย (Application and Interpretation of Law) |
2(2-1-3) |
LWC-124 |
การว่าความ
การถามพยานและการจัดทำเอกสาร (Advocacy,
Examination and Legal Documents Preparation) |
3(2-2-5) |
LWC-125 |
การค้นคว้าและการจัดทำเอกสารเบื้องต้น
(Trake Grabs and
Preliminaty) |
3(2-2-5) |
LWC-128 |
ห้องปฏิบัติการด้านกฎหมาย (Law Lab) |
3(2-2-5) |
LWC-129 |
ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) |
3(2-2-5) |
LWC-130 |
บริการกฎหมายสู่ชุมชน (Legal Service to the Community) |
3(2-2-5) |
LWC-131 |
การเตรียมความพร้อมการฝึกงานและสหกิจศึกษา
(Preparation for Internship
and Cooperative Education) |
1(0-120-0) |
LWC-132 |
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (Practice Professional Experience) |
2(0-240-0) |
LWC-133 |
โครงงานทางกฎหมาย (Legal Project) |
6(0-560-0)
|
LWC-134 |
สหกิจศึกษา (Cooperative Education) |
6(0-560-0)
|
2.3 |
กลุ่มวิชาเลือก
(ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) |
12 หน่วยกิต |
LWC-201 |
กฎหมายภาษีอากร (Taxation Laws) |
3(2-2-5) |
LWC-202 |
การสืบสวนและการสอบสวน (Detection and Investigation) |
3(2-2-5) |
LWC-203 |
กฎหมายล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีในศาลล้มละลาย
(Bankruptcy Laws and
Procedures) |
3(2-2-5) |
LWC-204 |
กฎหมายแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
(Labor Laws and Procedure) |
3(2-2-5) |
LWC-205 |
กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
(Laws of Juvenile and Delinquency
and Procedures) |
3(2-2-5) |
LWC-206 |
นิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Sciences) |
3(2-2-5) |
LWC-207 |
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
(Public International Law) |
3(2-2-5) |
LWC-208 |
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลและคดีอาญา
(Private and Criminal
International Law) |
3(2-2-5) |
LWC-209 |
กฎหมายว่าด้วยสินทรัพย์ดิจิทัล
(Digital Asset Law) |
3(2-2-5) |
LWC-210 |
กฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Introduction to Law and
Sustainable Development) |
3(2-2-5) |
LWC-211 |
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Laws) |
3(2-2-5) |
3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า
6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาใดๆ
ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นโดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว
อาชีพที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
1
ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการหรือเจ้าพนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม
2 พนักงานอัยการ สำนักงานอัยการสูงสุด
3 ข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
4 เจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี
กระทรวงยุติธรรม
5
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
6 เจ้าพนักงานปกครอง (ปลัดอำเภอ)
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
7 พนักงานไต่สวนระดับต้น (ปฏิบัติการ)
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
8 เจ้าหน้าที่สืบสวน สอบสวน
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม
9 เจ้าพนักงานเลือกตั้ง งานกฎหมายและคดี
งานสอบสวนสอบสวนและวินิจฉัย สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
10 พนักงานสอบสวน กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) กระทรวงยุติธรรม
11 นักวิชาการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัติการ
(กฎหมาย) สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
12 นักวิชาการที่ดิน กรมที่ดิน
กระทรวงมหาดไทย
13 ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ศาลรัฐธรรมนูญ
สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
14
ข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ศาลปกครองหรือพนักงานคดีปกครอง สำนักงานปกครอง
15 นายทหารพระธรรมนูญ กรมพระธรรมนูญ
กระทรวงกลาโหม
16 พนักงานคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ
กระทรวงยุติธรรม
17 ทนายความ
18 นิติกรทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
วันจันทร์ - วันศุกร์: 08:30น. - 17:00น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ : 08:30น. - 17:00น.
749, 1 ถ. ชยางกูร ตำบล ในเมือง อำเภอ เมืองอุบลราชธานี
อุบลราชธานี 34000
045 283 772