ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4 ปี)
ภาษาอังกฤษ
: Bachelor of Education Program in Early
Childhood Education
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : ศึกษาศาสตรบัณฑิต
(การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อย่อภาษาไทย : ศษ.บ. (การศึกษาปฐมวัย)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of
Education (Early Childhood Education)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Ed. (Early
Childhood Education)
ผลิตครูปฐมวัยให้มีจิตวิญญาณความเป็นครู
เป็นหลักสูตรบูรณาการ เน้นการนำความรู้และประสบการณ์มาหลอมรวมเพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
กลุ่มสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้ มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู
โดยมีวัตถุประสงค์ของหลักสูตรดังนี้
1. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในแนวคิด
ปรัชญาการศึกษาและจิตวิทยาเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
2. ผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรแบบบุณาการ และเน้นการนำความรู้และประสบการณ์มาหลอมรวมเพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์ที่ตอบสนองธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
3. ผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ความเข้าใจอันท่องแท้ในทฤษฎีและระเบียบวิธีการศึกษาวิจัยการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
รวมทั้งสื่อเทคโนโลยีและการวัดประเมินผลเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยและเพื่อสร้างความรู้ใหม่สำหรับการประกอบอาชีพหรือการศึกษาในระดับสูงขึ้นต่อไป
4. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจ ด้านโภชนาการและการจัดโภชนาการสำหรับเด็ก
ความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและผู้ปกครอง
เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการรอบด้านและสมดุล
จำนวนหน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต)
โครงสร้างหลักสูตร
มีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
(ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต) 30 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6
หน่วยกิต
1.2 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต
1.3 กลุ่มวิชาภาษา และการสื่อสาร 9 หน่วยกิต
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 9 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (ไม่น้อยกว่า 96 หน่วยกิต) 96 หน่วยกิต
2.1
กลุ่มวิชาชีพครู (ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต) 36 หน่วยกิต
2.1.1
วิชาชีพครูบังคับ (ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต)
2.1.2
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (ไม่น้อยกว่า 14 หน่วยกิต) 14
หน่วยกิต
2.2
กลุ่มวิชาเอก (ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต) 60 หน่วยกิต
2.2.1
วิชาเอกบังคับ (ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต) 40 หน่วยกิต
2.2.2
วิชาการสอนวิชาเอก (ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต) 10 หน่วยกิต
2.2.3
วิชาเอกบังคับส่งเสริมการจัดการเรียนรู้วิชาเฉพาะ 10
หน่วยกิต (ไม่น้อยกว่า 10
หน่วยกิต)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี
(ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต
3.1
รายวิชา
(1) ความหมายของอักษรย่อรหัสวิชา
GEN หมายถึง
รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ตัวเลขมีความหมายดังนี้
เลขหลักร้อย
คือ กลุ่มวิชา
เลขหลักสิบและหลักหน่วย
คือ ลำดับวิชา
(2) ความหมายของอักษรย่อรหัสวิชา
BED หมายถึง
กลุ่มวิชาชีพครู
ตัวเลขมีความหมายดังนี้
เลขหลักร้อย
คือ กลุ่มวิชา
เลขหลักสิบและหลักหน่วย
คือ ลำดับวิชา
(3) ความหมายของตัวเลขหน่วยกิต
ตัวเลขหน้าวงเล็บ
หมายถึงจำนวนหน่วยกิต
ตัวเลขตัวแรกในวงเล็บ
หมายถึงจำนวนชั่วโมงบรรยาย
ตัวเลขตัวที่สองในวงเล็บ
หมายถึงจำนวนชั่วโมงปฏิบัติ
ตัวเลขตัวที่สามในวงเล็บ
หมายถึงจำนวนชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง
(4) เลขรหัสวิชาที่ใช้ในหลักสูตรเฉพาะด้าน (วิชาเอก) ประกอบด้วยเลข 5 หลัก มีความหมาย ดังนี้
ตัวอักษร 3 ตัวแรก (BED) หมายถึง
กลุ่มสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
เลขรหัสตัวที่ 1 หมายถึง ลักษณะเนื้อหาของวิชาในแต่ละกลุ่มวิชา คือ
2 หมายถึง
กลุ่มวิชาเอกบังคับ
3 หมายถึง
กลุ่มวิชาการสอนวิชาเอก
4 หมายถึง
กลุ่มวิชาเอกส่งเสริมการจัดการเรียนรู้วิชาเฉพาะ
5 หมายถึง
หมวดวิชาเลือกเสรี
1.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
30
หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
6 หน่วยกิต
รหัสวิชา |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
GEN-101 |
การพัฒนาทักษะทางด้านชีวิต Life Skills
Development |
3(2-2-5) |
GEN-102 |
ประวัติศาสตร์
ปรัชญาและสังคม History,
Philosophy and Society |
3(2-2-5) |
กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
6 หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
GEN-201 |
ความรับผิดชอบพลเมืองยุคใหม่ Modern Civic
Responsibilities |
3(2-2-5) |
GEN-202 |
โลกและอาเซียน ASEAN and
the World |
3(2-2-5) |
กลุ่มวิชาภาษา
และการสื่อสาร
9 หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
GEN-301 |
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for
Communication |
3(2-2-5) |
GEN-302 |
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน Foundation
English |
3(2-2-5) |
GEN-303 |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในสถานประกอบการ English for
Communication in the Work place |
3(2-2-5) |
กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์
9 หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
GEN-401 |
คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน Mathematics
and Statistics in Daily Life |
3(2-2-5) |
GEN-402 |
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต Science for
Quality of Life |
3(2-2-5) |
GEN-403 |
การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม Technology
management and innovation |
3(2-2-5) |
2.หมวดวิชาเฉพาะ
96
หน่วยกิต
2.1
กลุ่มวิชาชีพครู
36
หน่วยกิต
2.1.1 วิชาชีพครูบังคับ
22
หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
BED-101 |
ความเป็นครู Teaching
Profession |
3(2-2-5) |
BED-102 |
จิตวิทยาสำหรับครู Psychology
for teachers |
3(2-2-5) |
BED-103 |
การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ Curriculum
development and learning management |
3(2-2-5) |
BED-104 |
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสำหรับครู Innovation
and information technology for teachers |
3(2-2-5) |
BED-105 |
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ Learning
Outcomes Measurement and Evaluation |
3(3-0-6) |
BED-106 |
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ Research for
Learning Development |
3(2-2-5) |
BED-107 |
ภาษาเพื่อการสื่อสารสำหรับครู Language for
Communication for Teachers |
3(2-2-5) |
BED-108 |
การประกันคุณภาพการศึกษา Educational
Quality Assurance |
2(1-2-3) |
2.1.2 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
14 หน่วยกิต/ชั่วโมงปฏิบัติ
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
BED-109 |
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน
1 Professional
Practicum I |
1(0-2-2) |
BED-110 |
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน
2 Professional
Practicum II |
1(0-2-2) |
BED-111 |
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
1 Teaching
Internship I |
6(0-18-9) |
BED-112 |
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
2 Teaching
Internship II |
6(0-18-9) |
2.2
กลุ่มวิชาเอก
60
หน่วยกิต
2.2.1
วิชาเอกบังคับ
40
หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
BED-201 |
จิตวิทยาพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย Developmental
Psychology and Learning of Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-202 |
พื้นฐานทางการศึกษาปฐมวัย Fundamental
of Early Childhood Education |
3(2-2-5) |
BED-203 |
การพัฒนาการคิดสำหรับเด็กปฐมวัย Thinking
Development for Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-204 |
คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Mathematics
for Early Childhood Science |
3(2-2-5) |
BED-205 |
ดนตรีและนาฏศิลป์สำหรับครูปฐมวัย Music
and Performing Arts for Early Childhood Teachers |
2(1-2-3) |
BED-206 |
ศิลปะสร้างสรรค์ทางการศึกษาปฐมวัย Creative
Arts in Early Childhood Education |
3(2-2-5) |
BED-207 |
การวัดและการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย Developmental
Assessment of Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-208 |
การบริหารจัดการและการประกันคุณภาพการศึกษาปฐมวัย Early
Childhood Education Administrative Management |
3(2-2-5) |
BED-209 |
นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย Innovation
in Early Childhood Education |
3(2-2-5) |
BED-210 |
การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย Education
Research for Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-211 |
สื่อ
ของเล่น และเทคโนโลยีสำหรับเด็กปฐมวัย Materials,
Toys and Technology for Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-212 |
หลักสูตรและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย Curriculum
and Experiences Organization for Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-213 |
สุขศึกษาและพลศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย Health and
Physical Education for Early Childhood |
3(2-2-5) |
BED-214 |
การจัดกิจกรรมส่งเสริมความพร้อมทางด้านสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย Organizing
Activities to Promote Social Readiness for Early Childhood |
3(2-2-5)20 |
2.2.2 วิชาการสอนวิชาเอก
10 หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
BED-301 |
การจัดประสบการณ์ตามแนวคิดไฮสโคป Instruction
Learning Activities based on High Scope |
3(2-2-5) |
BED-302 |
การจัดการเรียนรู้แบบ
STEM
ระดับการศึกษาปฐมวัย STEM
learning management in early childhood education |
3(2-2-5) |
BED-303 |
การจัดกิจกรรมภาษาและการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย Language for
Early Childhood |
2(1-2-3) |
BED-304 |
การจัดกิจกรรมการเล่นเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
Organizing
Learning Activities for Early Childhood |
2(1-2-3) |
2.2.3 วิชาเอกบังคับส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เฉพาะทาง
10 หน่วยกิต
รหัส |
ชื่อวิชา |
น(ท-ป-ศ) |
BED-401 |
โภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย Nutrition
for Early Childhood |
2(1-2-3) |
BED-402 |
การศึกษาสำหรับผู้ปกครองเด็กปฐมวัย
Educational
for Early Childhood Parents |
2(1-2-3) |
BED-403 |
สัมมนาการศึกษาปฐมวัย Seminar in
Early Childhood |
2(1-2-3) |
BED-404 |
การจัดสารนิทัศน์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย The
Preparation of Learning for Early Childhood |
2(1-2-3) |
BED-405 |
การช่วยเหลือเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ Helping
Early Childhood with Special needs |
2(1-2-3) |
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
กำหนดให้เลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัย
หรือเลือกเรียนรายวิชาในสถาบัน ในอุดมศึกษาอื่น
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำคณะและได้รับอนุมัติจากคณบดีที่หลักสูตรนั้นสังกัด
ทั้งนี้รายวิชาดังกล่าวต้องเป็นรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในระยะเวลาไม่เกิน
4
ปี นับถึงวันที่ขอโอน
วันจันทร์ - วันศุกร์: 08:30น. - 17:00น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ : 08:30น. - 17:00น.
749, 1 ถ. ชยางกูร ตำบล ในเมือง อำเภอ เมืองอุบลราชธานี
อุบลราชธานี 34000
045 283 772