หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาษาไทย : เทคโนโลยีบัณฑิต

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย : เทคโนโลยีบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)

ชื่อย่อภาษาไทย : ทล.บ.

ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Technology)

ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Tech.

มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ศาสตร์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นศาสตร์แห่งการก้าวทันเทคโนโลยี และรู้ทันโลกสมัยใหม่ ด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านสารสนเทศ ที่ตอบสนองความต้องการขององค์กร พร้อมนองค์ความรู้สู่การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566) มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้คุณภาพ การเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ใช้บัณฑิต ดังนี้

1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่อธิบายพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารเทศ สามารถอธิบายหลักการพื้นฐานทางเทคโนโลยี อธิบายหลักการทางกฎหมาย เลือกสรรใช้งาน และใช้เหตุผลตัดสินคุณค่าสารสนเทศจากเครือข่ายสังคมออนไลน์ตามหลักจริยธรรม

2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะในการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยียุคดิจิทัล ทำงานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทักษะในการวิเคราะห์ปัญหาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและกำหนดแนวทางแก้ไขได้ เพื่อนำไป ออกแบบนวัตกรรมทางวิชาชีพด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบได้

3 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถสร้างนวัตกรรมโดยใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และคุณลักษณะ ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ฐานชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น

PLO1

อธิบายทฤษฎี หลักการพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารเทศ วิธีการแก้ไขปัญหาเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน

PLO2
ระบุข้อสงสัยอย่างมีวิจารณญาณและใช้ดุลยพินิจวิเคราะห์ปัญหาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
PLO3
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและออกแบบนวัตกรรมด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบเพื่อการปฏิบัติงานได้
PLO4
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างแนวคิดธุรกิจเพื่อการเป็นผู้ประกอบการในการปฏิบัติได้
PLO5
พัฒนาทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการบูรณาการองค์ความรู้ เพื่อสร้างนวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์โดยใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
PLO6

แสดงออกถึงความซื่อสัตย์ สุจริต ตระหนักถึงผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีต่อบุคคล องค์กร สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีความมุ่งมั่นในการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนางาน มีการทำงานอย่างเป็นระบบ มีความรับผิดต่อการทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมาย

1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต

2 หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต

2.1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จำนวน 36 หน่วยกิต

2.1.1 กลุ่มวิชาทฤษฎี จำนวน 27 หน่วยกิต

2.2.2 กลุ่มวิชาปฏิบัติ จำนวน 9 หน่วยกิต

2.2) กลุ่มวิชาชีพ จำนวน 48 หน่วยกิต

2.1.1 กลุ่มวิชาทฤษฎี จำนวน 6 หน่วยกิต

2.2.2 กลุ่มวิชาปฏิบัติ จำนวน 42 หน่วยกิต

2.3) กลุ่มวิชาชีพเลือก 6 หน่วยกิต

2.1.1 กลุ่มวิชาทฤษฎี จำนวน 27 หน่วยกิต

2.2.2 กลุ่มวิชาปฏิบัติ จำนวน 12 หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

รหัสวิชา

กลุ่มวิชาเพื่อการสื่อสาร

8 หน่วยกิต

GEN-101

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร Thai for Communication

2(1-2-3)

GEN-102

ภาษาไทยกับการรู้เท่าทันอย่างสร้างสรรค์ Thai language and Creative literacy

2(1-2-3)

GEN-103

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร English for Communication

2(1-2-3)

GEN-104

ภาษาอังกฤษกับเพื่อนวัตกรรมสังคม English for Social Innovation

2(1-2-3)

รหัสวิชา

กลุ่มวิชาส่งเสริมทักษะชีวิต

8 หน่วยกิต

GEN-201

คุณค่าของความสุข Values of Happiness

2(1-2-3)

GEN-202

มนุษย์กับศาสตร์การใช้ชีวิต Human and Science living

2(1-2-3)

GEN-203

ความรู้การเงินส่วนบุคคลยุคดิจิทัล Personal Finance literacy in Digital Age

2(1-2-3)

GEN-204

การคิดเพื่อการพัฒนาธุรกิจ Critical Thinking for Business Development

2(1-2-3)

รหัสวิชา

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม

5 หน่วยกิต

GEN-301

การใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล Living in the Digital Age

2(1-2-3)

GEN-302

เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อชุมชน Technology and Innovation for Community

3(2-4-3)

รหัสวิชา

กลุ่มวิชาสหศาสตร์

3 หน่วยกิต

GEN-401

UMT เพื่อชุมชน The Eastern University of Management and Technology for Community

3(0-6-3)

2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน 90 หน่วยกิต

2.1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ 36 หน่วยกิต

2.1.1

กลุ่มวิชาทฤษฎี

หน่วยกิต

ICT-101

คณิตศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์ Mathematics for information technology

3(2-2-5)

ICT-102

สถิติวิเคราะห์ Statistical Analysis

3(2-2-5)

ICT-103

เทคโนโลยีเครือข่าย Network Technology

3(2-2-5)

ICT-104

กฎหมายและจริยธรรมทางคอมพิวเตอร์ Computer Laws and Ethics

3(2-2-5)

ICT-105

โครงสร้างข้อมูล Data Structures

3(2-2-5)

ICT-106

การประมวลผลแบบคลาวด์ Cloud Computing

3(2-2-5)

ICT-109

ความมั่นคงในระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย Security in Computer Systems and Networking

3(2-2-5)

ICT-111

วิธีการวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design Method

3(2-2-5)

ICT-112

อินเตอร์เน็ตสรรพสิ่ง Internet of Things

3(2-2-5)

2.1.2

กลุ่มวิชาปฏิบัติ

หน่วยกิต

ICT-110

การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ Mobile Devices Programming

3(2-2-5)

ICT-107

สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และการแก้ปัญหาเชิงตรรกะ Computer Architecture and Logical Problem Solving

3(2-2-5)

ICT-108

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Data Communication and Computer Network

3(2-2-5)

2.2 วิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ 48 หน่วยกิต

2.2.1

กลุ่มวิชาทฤษฎี

หน่วยกิต

ICT-203

โครงสร้างข้อมูลและการออกแบบขั้นตอนวิธี Data Structures and Algorithms Design

3(2-2-5)

ICT-207

พื้นฐานการออกแบบและการพัฒนาเว็บ Basic of web design and development

3(2-2-5)

2.2.2

กลุ่มวิชาปฏิบัติ

หน่วยกิต

ICT-201

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ Management Information System

3(2-2-5)

ICT-202

การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ Object-Oriented Analysis and Design

3(2-2-5)

ICT-204

ระบบฐานข้อมูล Database Systems

3(2-2-5)

ICT-205

การออกแบบและพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง Design and Development for Internet of Things

3(2-2-5)

ICT-206

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Object-Orienter Programming

3(2-2-5)

ICT-208

การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน Web Application Development

3(2-2-5)

ICT-209

การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา Java Programming

3(2-2-5)

ICT-210

สัมมนาเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology Seminar

3(2-2-5)

ICT-211

ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ Research Methodology

3(2-2-5)

ICT-212

การเตรียมความพร้อมประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจศึกษา Preparation for Experiential and Cooperative Education

1(0-120-0)

ICT-213

การฝึกประสบการณ์ด้านวิชาชีพ Professional Experience in Accounting

2(0-240-0)

2.2.3

การฝึกประสบการณ์ภาคสนามหรือโครงงาน

ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจ *

12 หน่วยกิต

ICT-214

สหกิจศึกษา1 CO-operative Education

6(0-560-0)

ICT-215

สหกิจศึกษา2 CO-operative Education

หรือ โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ *

ICT-216

โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 Information Technology Seminar

6(0-560-0)

ICT-217

โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 Information Technology Seminar

6(0-560-0)

หมายเหตุ * ให้นักศึกษาเลือกเรียน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพและสหกิจ หรือ โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

3) วิชาเอกชีพเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศ

ให้ นักศึกษาเลือกเรียนตามรายวิชาดังต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

3.1

กลุ่มวิชาทฤษฎี

หน่วยกิต

ICT-301

เทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียสำหรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศ Multimedia technology for information technology

3(2-2-5)

ICT-302

เทคโนโลยีสื่อดิจิทัลเพื่องานสื่อสารองค์กร Digital Media Technology for Corporate Communication

3(2-2-5)

ICT-303

พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce

3(2-2-5)

ICT-306

เทคโนโลยีสารสนเทศประยุกต์ Applied Information Technology

3(2-2-5)

ICT-307

ระบบผู้เชี่ยวชาญและระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Expert System and Decision Support System

3(2-2-5)

ICT-310

เว็บเทคโนโลยี Web Technology

3(2-2-5)

ICT-311

การใช้เทคโนโลยีเพื่อชีวิตยุคดิจิทัล Technology Usage for Digital life

3(2-2-5)

ICT-312

เทคโนโลยีและนวัตกรรม Technology and Innovation

3(2-2-5)

ICT-313

กระบวนการคิดเชิงออกแบบสู่การเป็นผู้ประกอบการยุคดิจิทัล Design Thinking Process For Digital Age Entrepreneurs

3(2-2-5)

3.1.2

กลุ่มวิชาปฏิบัติ

หน่วยกิต

ICT-304

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร Enterprise Computer Network

3(2-2-5)

ICT-305

การประยุกต์ใช้คลาวด์แพลตฟอร์ม Applied Cloud Platform

3(2-2-5)

ICT-308

ผู้ประกอบการเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology Entrepreneurship)

3(2-2-5)

ICT-309

ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น Introduction to Artificial Intelligence

3(2-2-5)

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาใดๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์นโดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษาของหลักสูตรนี้

1. นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน

3. นักเขียนโปรแกรม หรือผู้พัฒนาซอฟต์แวร์

4. ผู้ดูแลความมั่นคงของเครือข่ายและระบบสารสนเทศ

5. ผู้จัดการโครงการสารสนเทศ

6. นักพัฒนาเว็บไซต์

7. นักวิทยาการข้อมูล นักวิชาการคอมพิวเตอร์

8. นักพัฒนาระบบด้านอินเตอร์เน็ตสรรพสิ่ง (IoT)

9. ประกอบอาชีพอิสระหรือเจ้าของธุรกิจ

10. สนับสนุนหรือผู้ชำนาญการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ



เวลาทำการ

วันจันทร์ - วันศุกร์: 08:30น. - 17:00น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ : 08:30น. - 17:00น.

ที่อยู่ติดต่อ

749, 1 ถ. ชยางกูร ตำบล ในเมือง อำเภอ เมืองอุบลราชธานี
อุบลราชธานี 34000

โทรศัพท์

045 283 772